วันพุธที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2559

เทคนิคลบจุดสีดำในภาพด้วยโปรแกรม Photoshop





โดยปกติแล้ว ผมม้กจะเข้ากรุงเทพฯ อยู่ค่อนข้างบ่อยเฉพาะวันเสาร์หรือไม่ก็วันอาทิตย์ ออกจากชลบุรีตีสี่ (รถเมล์) เสียเวลารอแพขนานยนต์ที่ท่าข้ามบางปะกง แล้วจึงจะเดินทางต่อเข้าไปจอดที่สามแยก ผมจะไปดูละครเวที...ที่เฉลิมนคร หรืออีกทีก็เฉลิม1ไทยรอบเที่ยง พอละครเลิกก็กลับมาขึ้นรถที่สามแยก ถึงบ้านก็ราวสองทุ่ม...หรือบางทีก็ไปที่พิมพ์ไทย-สยามนิกร ซึ่งอยู่ถนนสีลม ต้องเดินข้ามคลองด้วยสะพานไม้ ผมจะนั่งรถราง และเมื่อเข้าไปสำนักงานแล้วก็จะพบกับคุณบรรจบ ชุวานนท์ หัวหน้านักข่าวภูธร นักข่าวภูธรในเวลานั้นมีเงินเดือนเดือนละ ๕0 บาท ดูเหมือนจะไม่มีค่าข่าวที่คิดกันเป็นคอลัมน์/นิ้วอย่างทุกวันนี้การส่งข่าวจะมีซองจ่าหน้าซองไว้แล้ว แต่ทุกสองสัปดาห์ผมมืหน้าที่ต้องรายงานลงในแบบฟอร์มซึ่งสำนักงานส่งมาให้ไว้ กล่องไฟถ่ายรูปราคาถูก  แบบฟอร์มมีรายการเกี่ยวกับดินฟ้าอากาศ ฝนตกหรือไม่ ขนาดไหน ราคาสินค้าในตลาดประเภทข้าว-หอม-กระเทียมและเครื่องอุปโภคที่ผมจำไม่ได้ว่ามีอะไรบ้าง การกรอกแบบฟอร์มนิ้จะขาดหายไม,ได้เป็นอันขาดผมคงต้องเท้าความต่อไปอีกหน่อยเกี่ยวกับการได้รู้จักคุณสมบุรณ์ซึ่งในช่วงเวลานั้นมีชื่อเสียงมาก คุณสมบูรณ์เป็นนักข่าวประจำพิมพ์ไทย-สยามนิกร ก่อนหน้านั้นเป็นนักข่าวอยู่หนังสือพิมพ์เอกราช

 ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์ที่วางตลาดเวลาบ่าย อันเน้นไปในทางการเมืองมากกว่าข่าวอาชญากรรมผมเดินเข้าไปที่สำนักงานเอกราชที่หลังอาคาร ๑๐ ถนนราชดำเนินผมไปกับคุณสนิท เอกชัย โดยเราออกเดินทางจากชลบุรีด้วยกัน บ่ายหน้าเข้ากรุง...เพื่อจะเป็นนักข่าวนี่แหละ คุณสนิทพาให้ผมได้รู้จักคุณอิศรา อมันตกุล รู้จักคุณนรา พฤฒินนท์, คุณอาคม คเชนทร์, คุณเตมีย์วิทยะ, คุณราเชนทร์ วัฒนปรีชากุลสำนักงานของหนังสือพิมพ์เอกราช เป็นห้องกว้างๆ ชั้นเดียวนอกเหนือจากที่ได้เอ่ยซื่อมาแล้ว ยังมีผู้อื่นอีกที่ผม1ไม่!'จัก คุณสนิทบอกผมว่าเราจะเริ่มต้นกันที่ตรงนี้...การเข้ากรุงเทพฯ ครั้งนั้น (พ.ศ. ๒ร:(ร๙) ผมได้ที่พักคือ บ้านของคุณลุง “ขุนอาจดรุณวุฒิ” (เนย การุณยวนิช) ซึ่งอยู่จุฬาฯ ซอย ๖ หรือถ้าเดินออกมาทางด้านสามย่านสามารถใช้ซอย ๓ ได้หนึ่งเดือนผ่านไป คุณสนิททำหน้าที่เป็นนักข่าวแล้ว ล้วนผมยังคงนั้งที่ออฟพีศแล้วนึกรำคาญขึ้นมา เริ่มหารือกับคุณสนิทถึงการจะทำนิตยสารเฉพาะกิจ คือ จัดทำแม็กกาซีนที่บรรจุเรื่องสันล้วนๆ ขนาดหนังสือแปดหน้ายกคุณสนิทเห็นด้วย จึงหาเงินมาลงทุนกันคนละสองพันบาท กำหนดคนเขียนเรื่องสันซึ่งจะมี “พี่อิศร์” นำขบวนแล้ว ได้คุณพนมเขียนภาพปกหนังสือซึ่งใช้ซื่อว่า  photobox “ลมหนาว” คุณพนมเขียนภาพผู้หญิงที่ห่อตัวและกระชับเสื้อหนาวมีกระแสลมพัดผ่าน...งดงามไม่น้อย ปกพิมพ์สามสีด้วยวิธีการพิมพ์หิน...ผมเป็นผู้ดูแลติดต่อจัดแจงจน “ลมหนาว” เสร็จ มีสายส่งมารับไปวางแผงและตกลงกันว่าจะเก็บเงินกันอีกหนึ่งเดือนข้างหน้าหนังสือเล่มนี้พิมพ์จำนวนเพียงสองพันเล่มเท่านั้นหนึ่งเดือนผ่านไป...วันหนึ่ง คุณสนิทเดินเข้าสำนักงานเอกราชบอกกับผมว่า “ลมหนาว” ขายหมด ถามตามแผงแล้ว สายส่งเก็บเงินไปแล้วแต่ไม่มีสายส่งคนไหนมาให้เห็นหน้า “สายส่งมักจะเบี้ยวกันแบบนี้เสมอแหละ...”

คุณสนิทพูดเหมือนจะปลอบใจตัวเองและรวมถึงผมด้วย เงินสองพันบาทที่เพื่อนให้ยืมมาจึงหายวับหมดไปผมยังแกร่วอยู่ที่ “เอกราช” และเริ่มเขียนเรื่องสันส่งให้ “พื่อิศร์”ซื่อเรื่องอะไรจำไม่ได้ เรื่องสันเรื่องนี้ถูกนำลง “เอกราช” วันอาทิตย์และหลังจากนั้นไม่นานผมกลับบ้านที่เมืองชลเหมือนมีอะไรบางอย่างมาดลใจ ผมลงไปกราบคุณย่าซึ่งผมรักมาก คุณย่าออกปากให้ผมบวช ผม  ไม่ลังเลใจตอบตกลงและทำพิธีที่บ้านคุณย่าซึ่งอยู่สะพานหลวง (ปัจจุบันชื่อซอยเสริมลันติ) กล่องไฟLED  อันเป็นบ้านเกิดของผมนั่นเองอยู่ในร่มกาสาวพัสตร์ตั้งแต่ ๖ พฤษภาคม จนถึง ๓๑ ธันวาคม๒รr๙๑ ลาสิกขาออกมารับปีใหม่ จากนั้นอีกราวสามเดือนผมเข้ากรุงเทพฯ หมายใจว่าจะไปหาคุณสนิทซึ่งได้รู้ว่าทำงานที่หนังสือพิมพ์ประชากร แถวถนนรองเมือง ได้พบกันตอนเที่ยง กินข้าวกลางวันแล้วคุยกัน คุณสนิทบอกว่า “เอกราช” หยุดไปแล้ว ถ้าผมคิดจะทำงานก็คงต้องรอ โดยเขาจะส่งข่าวให้รู้ผมกลับเมืองชลเพราะคิดว่าหนทางข้างหน้าคงมืดมนแล้ว จึงคงเป็น “นักข่าวภูธร” ต่อไปผมไม่ได้พบคุณสมบูรณ์วิริยคิริ อีกเลย จนกระทั่งวันหนึ่งเปิดหนังสือพิมพ์ “ชาติไทยอาทิตย์” รายสัปดาห์ เห็นชื่อคุณวิตต์ สุทธเสถียรเป็นบรรณาธิการ มืชื่อคุณสมบูรณ์ร่วมอยู่ในกองบรรณาธิการด้วย


กล่องไฟถ่ายรูป

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น